วันเสาร์ที่ 8 ตุลาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 15

วันอังคารที่ 27 กันยายน 2554

บรรยากาศ เรียนสนุกมาก

วันนี้อาจารย์สอน
อนุบาล คือ การจัดประสบการณ์
นิยามของหลักสูตร คือ เป็นมวลประสบการณ์ให้เด้กแรกเกิดถึง 7 ปี

การจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

สาระ
ประสบการณ์สำคัญ
ความหมาย
ประเมินผล
สังเกต
สนทนา
ผลงาน
แฟ้มสะสมงาน
ความสำคัญ
หลักการจัดการ
ทักษะกระบวนการ
ประโยชน์
วิธีการประดิษฐ์ของเล่น
กิจกรรม
การบูรณาการ
การรเขียนโครงการ
พัฒนาหารของแต่ละบุคคลกับการเจริญเติบโตจัดเพื่อให้เหมาะสม

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 14

วันอังคารที่ 20 กันยายน 2554

อาจารย์ตรวจงานของเพื่อนแต่ละกลุ่ม

ถึงกลุ่มดิฉันเรื่อง รถ
การเขียนแผน ก็มีปรับแก้บ้างบางส่วน
สาระสำคัญ คือ ส่วนประกอบของรถ
ประสบการณ์ คือ เด็กบอกส่วนประกอบรถได้
ขั้นนำ คือ อาจจะเป็นคำคล้องจอง เพลง
เชื่อมโยง เมื่อวานเด็ก ๆ รู้จักรถอะไรได้บ้างค่ะ รถแต่ละชนิดมีส่วนประกอบอะไรบ้าง ครูโชว์ให้ดูเด็ก ๆ เห็นส่วนประกอบอะไรบ้าง


วัน/ชนิด สี ส่วนประกอบ

2 ล้อ สีขาว ล้อรถ แฮนด์ เบาะนั่ง
สีดำ
3 ล้อ สีน้ำเงิน ล้อรถ หลังคา เบาะนั่ง
สีฟ้า
4 ล้อ สีเทา ล้อรถ ประตู เบาะนั่ง
สีแดง

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 13

วันอังคารที่ 13 กันยายน 2554

บรรยากาศน่าเรียน เย็นสบายทำให้นักศึกษาทุกคนตั้งใจเรียนกันเป็นอย่างดี

อาจารย์สั่งการบ้านให้นักศึกษาทำหลักสูตร 3 ปี และ 3-5 ปี ของเด็กปฐมวัย ส่งครั้งหน้า

อาจารย์สอนให้เขียนแผนประสบการณ์ เช่น

วันจันทร์ ตัวตน
วันอังคาร แหล่งที่มา
วันพุธ ประโยชน์
วันพฤหัสบดี โทษ
วันศุกร์ การดูแลรักษา

บรูณาการทักษะวิทยาศาสาตร์กับสาระวิทยาศาสาตร์
1. ศิลปะสร้างสรรค์
2. เกมการศึกษา
3. การเล่นเสรี
4. การเคลื่อนไหวและจังหวะ
5. กิจกรรมการแจ้ง
6. เสริมประสบการณ์


จากนั้นอาจารย์ร่างแผนตัวอย่างให้ดู และให้นักศึกษาเขียนแผนมาส่งอาจารย์ในครั้งหน้า ของแต่ละกลุ่มตามวัน

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 12

วันอังคารที่ 6 กันยายน 2554



วันนี้อาจารย์ให้นำงานมาส่ง เรื่อง โครงการ


อาจารย์ให้นักศึกษาดู วีดีโอ เรื่อง แสง

วันศุกร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 11









วันอังคารที่ 30 สิงหาคม 2554

อาจารย์สอนเรื่อง โครงการ ทำไมใช้ขวดพลาสติกทำสิ่งประดาฐ์

1. หาง่าย
2. สิ่งรอบต้ว
3. เหลือใช้

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 10

วันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554


สำหรับการเรียนการสอนในวันนี้ อาจารย์ได้สอนในเรื่องของการจัดกิจกรรม
จะต้องมี
- หลักการ
- มีความหลากหลาย
- มีการวางแผน คือ การเขียนแผน มีวัตถุประสงค์
- มีระยะเวลา

อาจารย์ได้สอนในเรื่องของการเขียนโครงการ
คือ การเขียนโครงการมี 3 ระยะด้วยกันคือ

ระยะที่ 1 อยากรู้เรื่องอะไร
ระยะที่ 2 การศึกษาแบบลุ่มลึก
ระยะที่ 3 การนำเสนอผลงาน

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 9



วันอังคารที่ 16 สิงหาคม 2554

วันนี้บรรยากาศในการเรียนตื่นเต้นเพื่อน ๆ มีการนำงานมาเสนอให้อาจารย์ดู
ดิฉันอาสาทำสิ่งประดิษฐืที่อาจารย์ได้นำเสนอมาให้นักศึกษาทำ ดิฉันได้ทำ สิ่งประดิษฐ์จากขวดน้ำแต่ยังไม่ได้ตั้งชื่อ อาจารย์ตั้งชื่อให้ว่า " เจ้าขเมือบ "
อาจารย์ให้ข้อเสนอแนะมาว่า
อาจารย์ว่าไปนำรุปสัตว์ต่าง ๆ ติดที่ ขวด แล้วสายรอยเชือกให้เป็นลุกปิงปองหรือฝาขวดเป็บซี่ก็ได้ แล้วนำตีนตุ๊กแตมาติดที่ขวดจากนั้นก็นำภาพที่สัตว์ตัวไหนจะกิน เช่น ลิง กิน กล้วย , ไก่ กิน ข้าวเปลือก
จากนั้นอาจารย์ให้ดูวิดิโอ เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ เรื่องของนํ้า
นํ้า คือ นํ้ามีความจำเป็นต่อคนเรา เวลาแดดร้อนทำให้ร่างกายอ่อนเพลียและทำให้เหงื่อออกนํ้าในร่างกายจึงออกมาเกับเหงื่อจึงทำให้คนเราต้องการนํ้าร่างกาย

นํ้าจะมีอยู่ 3 สถานะ คือ
- ของแข็ง
- ของเหลว
- ก๊าซ


วันนี้อาจารย์และเพื่อนๆร่วมกันคิดสิ่งประดิษฐ์ของเล่นวิทยาศาสตร์ที่ทำจากขวดนํ้าพลาสติก
อาจารย์แบ่งแล้วมอบหมายให้ไปทำมาส่งมีทั้งงานเดี่ยวและคู่แล้วนำมาเสนอคาบหน้า

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 8

วันอังคารที่ 9 สิงหาคม 2554

วันนี้ได้งดการเรียน การสอน เพราะ วันนี้เป็นสัปดาห์ของการสอบกลางภาคค่ะ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 7







วันอังคารที่ 2 สิงคาคม 2554

อาจารย์ให้นำเสนอของเล่นที่นักศึกาได้ประดิษฐ์มา
ดิฉันได้นำเสนอ " ช้างน้อยพ่นน้อย "


วัสดุอุปกรณ์

1. กระดาษร้อยปอนด์
2. กรรไกร
3. เทปกาว
4.สี
5.ลูกโฟม
6.ลวด
7. หลอด

วิธีทำ
1. วาดรูปหัวช้างน้อยที่เราต้องการ และระบายสีให้สวยงาม
2. ใช้กรรไกรตัวส่วนหัวช้างน้อยที่เราระบายสีไว้เรียบร้อยแล้ว
3. ใช้กรรไกรเจาะตรงกลางหัวช้างและเสียบหลอดเข้าไปติดเทปกาวเอาไว้ด้านหลังกันไม่ให้หลุด
4. จากนั้นดัดลวดเป็นเกลียว แล้วเอาลูกโฟมใส่เข้าไปที่ลวด


เป่าหลอดที่เราเสียบไว้ เวลาเป่าลมก็จะผ่านหลอดไปยังลูกโฟมทำให้ลูกโฟมเต้นได้

วันจันทร์ที่ 1 สิงหาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 6

วันอังคารที่ 26 กรกฎาคม 2554

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะที่ส่งเสริมให้เด็กปฐมวัยสามารถคิดหาเหตุผล แสวงหาความรู้ ความสามารถแก้ปัญหาได้ตามวัยของเด็ก ควรจัดกิจกรรมให้เด็กได้ลงมือกระทำด้วยตนเองจากสิ่งแวดล้อมรอบ ๆ ตัว

1 ความหมายทักษะการสังเกต
- การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างโดยมีจุดประสงค์ที่จะหาข้อมูลซึ่งเป็นรายละเอียดของสิ่งนั้น ๆ
1.1 สังเกตร่างลักษณะและคุณสมบัติทั้วไป
1.2 การสังเกตควบคุ่กับการวัดเพื่อทราบปริมาณ
1.3 การสังเกตเพื่อรู้ถึงการเปลิ่ยนแปลง
2. ความหมายทักษะการจำแนกประเภท
- ความสามารถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์
1. ความเหมือน
2. ความแตกต่าง
3. ความสัมพัมธ์ร่วม
3. ความหมายทักษะการวัด
- การใช้เครื่องมือต่าง ๆ วัด หาปริมาณของส่งที่เราต้องการทราบได้อย่างถูกต้องโดยมีหน่วยการวัดกำกับ
1. ต้องรู้จักกับสิ่งของที่จะวัด
2. การเลือกเครื่องมือที่นำมาใช้วัด
3. วิธีการที่เราจะวัด
4. ทักษะการสื่อความหมาย
- การพูด การเขียน รูปภาพและภาษาท่าทาง การแสดงสีหน้า ความสามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้อง
1. การบรรยายลักษณะคุณสมบัติของวัตถุ
2. บันทึกการเปลี่ยนแปลงของวัตถุได้
3. บอกความสัมพันธ์ของข้อมูลที่ได้จัดกระทำ
4. จัดกระทำข้อมูลในรูปแบบต่าง ๆ
5. ความหมายทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล
- ทักษะการลงความเห็นจากข้อมูล การเพิ่มเตมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล โดยอาศัยความรู้หรือประสบกาณ์
1. ลงข้อสรุปเกี่ยวกับสิ่งต่าง ๆ
2. ลงข้อมูลสรุปเกี่ยวกับสัมพันธ์ต่าง ๆ
6. ความหมายทักษะการคำนวณ
- การเรียนรู้ 1 มิติ ,2 มิติ, 3 มิติ การเห็นและเข้าใจภาพที่เกิดบนกระจกเงา
1. ชี้บ่งภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ
2. บอกความสัมพันธ์ระหว่างทิศทางของวัตถุ
3. บอกตำแหน่งหรือทิศทางของวัตถุ
4. บอกตำแหน่งซ้ายหรือขวาของภาพที่เกิดจากการวางวัตถุไว้หน้ากระจกเงา
7. ความหมายทักษะการคำนวณ
- การนับจำนวนของวัตถุ การบวก การลบ การคูณ การหาร จำนวนของวัตถุการนับจำนวนตัวเลขมากำหนดบอกลักษณะต่าง ๆ เช่น ความกว้าง ความยาว ความสูง
1. การนับจำนวนของวัตถุ
2. การบวก การลบ การคูณ การหาร
3. การนับจำนวนตัวเลขมากำหนดหรือบอกลักษณะต่าง ๆ ของวัตถุ


อาจารย์สอน

เขียนร่างออกมาเป็นมายแม็บ
หัวข้อทำไมต้องสอนวิทยาศาสตร์
- ความจำเป็นที่จะนำไปใช้ในชีวิตประจำ
- หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยพุทธศักราช 2546
- ระดับการศึกษาปฐมวัยมาตราฐานการศึกษา


อาจารย์สอน

เขียนร่างออกมาเป็นมายแม็บ
หัวข้อมามตราฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัย
- มาตราฐานด้านผู้เรียน
- มาตราฐาน 5 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์ มีวิจารณญาณและมีความคิดสร้างสรรค์


การบ้าน

อาจารย์ให้ประดิษฐ์ของเล่น ประดิษฐ์มาเลย จากเศษวัตถุ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 5




บรรยากาศในห้องเรียนวันนี้

- หนาวมาก
- สนุกสนานดี
- บรรยากาศดี

วันนี้อาจารย์สอนเรื่อง
โครงการ"รณรงค์ ลด ละ เลิก เหล้า บุหรี่ สิ่งเสพติด"

โดยให้แต่ละกลุ่มไปหา
1. หลักการเเละเหตุผล
2. ทำไมต้องมีการรณรงค์ลด ละ เลิก เหล้า บุหรี่ สิ่งเสพติด
กับเด็ก กับสังคม กับประเทศ

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 4



บรรยากาศในห้องเรียนวันนี้

สนุกสนาน
มีกิจกรรมได้ทำหลายกิจกรรม
สนุกกับการทำกิกรรม
บรรยากาศดี


มีการนำเสนองานเป็นกลุ่ม powerpoint

1. จิตวิทยาการเรียนรู้
ธรรมชาติของการเรียนรู้ มี 4 ขั้นตอน คือ
1.1 ความต้องการของผู้เรียน (Want) คือ ผู้เรียนอยากทราบอะไร เมื่อผู้เรียนมีความต้องการอยากรู้อยากเห็นในสิ่งใดก็ตาม จะเป็นสิ่งที่ยั่วยุให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้

2.2 สิ่งเร้าที่น่าสนใจ (Stimulus) ก่อนที่จะเรียนรู้ได้ จะต้องมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจ และน่าสัมผัสสำหรับมนุษย์ ทำให้มนุษย์ดิ้นรนขวนขวาย และใฝ่ใจที่จะเรียนรู้ในสิ่งที่น่าสนใจนั้น ๆ

3.3 การตอบสนอง (Response) เมื่อมีสิ่งเร้าที่น่าสนใจและน่าสัมผัส มนุษย์จะทำการสัมผัสโดยใช้ประสาทสัมผัสต่าง ๆ เช่น ตาดู หูฟัง ลิ้นชิม จมูกดม ผิวหนังสัมผัส และสัมผัสด้วยใจ เป็นต้น ทำให้มีการแปลความหมายจากการสัมผัสสิ่งเร้า เป็นการรับรู้ จำได้ ประสานความรู้เข้าด้วยกัน มีการเปรียบเทียบ และคิดอย่างมีเหตุผล

4.4 การได้รับรางวัล (Reward) ภายหลังจากการตอบสนอง มนุษย์อาจเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็นกำไรชีวิตอย่างหนึ่ง จะได้นำไปพัฒนาคุณภาพชีวิต เช่น การได้เรียนรู้ ในวิชาชีพชั้นสูง จนสามารถออกไปประกอบอาชีพชั้นสูง (Professional) ได้ นอกจากจะได้รับรางวัลทางเศรษฐกิจเป็นเงินตราแล้ว ยังจะได้รับเกียรติยศจากสังคมเป็นศักดิ์ศรี และความภาคภูมิใจทางสังคมได้ประการหนึ่งด้วย

2. แนวคิดนักการศึกษาทางวิทยาศาสตร์

3. การจัดประสบการณ์


อาจายร์ให้นักศึกษา ออกมานำเสนองานของแต่ละกลุ่ม 1 กิจกรรม

1.ลูกโป่งถูผม
2.กระดาษซับน้ำ
3.ไข่ลอยน้ำ
4.ลูกเกดเต้นได้
5.การกระจายของสี
6.กระดาษวาดรูปด้วยเทียน (กลุ่มดิฉันเอง)

วันศุกร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

วันจันทร์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 2



วันอังคารที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

อาจารย์บรรยายพูดคุยกับนักศึษา
เพิ่มลิ้งค์
1. คุณธรรม
2. วินัย
3. ทักษะทางปัญญา

กิจกรรม
อาจารย์ให้นักศึกษาฟังเพลงไอน้ำ
ไอน้ำเกิดขึ้นได้อย่างไร พระอาทิตย์ส่องแสงลงแม่น้ำ แม่น้ำร้อนละเหยกลายเป็นไอน้ำลอย

1. ความหมาย
2. ความสำคัญ
3. ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
4. จิตวิทยาการเรียนรู้ (กลุ่มดิฉันได้)
5. แนวคิดนักการศึกษา
6. หลักการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

1. ความหมาย เป็นสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต เป็นสถานะ 3 สถานะ ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ลักษณะ สี
พื้นผิว ขนาด
2. ความสำคัญ ใช้ในชีวิตประจำวัน

ความสำคัญ

สิ่งต่าง ๆ
- คุณสมบัติ
- คุณลักษณะ
- จะนำมาใช้ประโยชน์ได้อย่างไร
- จะนำมาพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้อย่างไร
- เราจะรักษาสิ่งต่าง ๆ ในโลกนี้ได้อย่างไร
สิ่งแวดล้อม
- ดูแลป้องกันสิ่งแวดล้อม
- วิธีการในการพัฒนาที่ถูกต้องและเหมาะสม
เด็ก
- อยากรู้ อยากเห็น อยากทดลอง
- ลงมือปฎิบัติ
- ค้นพบ
ความรู้
ความสามาถในการใช้ทักษะ
- สรุปองค์ความรู้และความสามารถของตน
- การค้นหาและสืบเสาะ



การบ้าน
- หาพัฒนาการสติปัญญา เพียเจ กับ บรูเนอร์ แรกเกิดถึง 2 ปี
- แบ่งกลุ่ม กลุ่มดิฉันได้หัวข้อ จิตวิทยาการเรียนรู้

วันอังคารที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2554

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่ 1



วันอังคารที่ 8 มิถุนายน 2554

วันนี้เป็นการเรียนวันแรกสำหรับวิชานี้

บรรยากาศ
รุ้สึกนักศึกษาทุกคนสนุกกับการพูดคุยของวิชาแรก บรรยากาศหนาวมาก

อาจารย์ เช็คชื่อ และ บอกเลขที่ทุกคนให้จำ ดิฉันเลขที่ 8
อาจารย์อธิบายเกี่ยวกับวิชานี้
- วิทยาศาสตร์ คือ สิ่งรอบ ๆ ตัวเราที่เราใช้ในชีวิตประจำ โดยผ่านการรับรู้ประสาทสัมผสทั้ง 5
- การเรียนรู้ คือ ต้องเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม เพื่อเตวรอด
- การจัดประสบการณ์ คือ การออกแบบ การวางแผน


การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- วิทยาศาสตร์
- ประสบการณ์
- เด็กปฐมวัย

วิทยาศาสตร์
- ทักษะ
- สังเกต
- ตั้งสมมุติฐาน
- ทดลอง
- บันทึก
- สรุป
ประสบการณ์
- การรับรู้
- การเรียนรู้
- ได้มีโอกาสปฏิบัติ
เด็กปฐมวัย